องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสร้าง อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี : www.bansanglocal.go.th
 
 
จำนวนผู้เข้าชม
จำนวน คน
ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม 2564
 
สภาพทางเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจ
          ๖.๑ การเกษตร
                   มีพื้นที่ทำการเกษตร แบ่งเป็น
                   1. ทำนา         2. แตงโม (ช่วงพักการทำนา)
          ๖.๒ การประมง
                   การประมงแบ่งเป็น
                   1. เลี้ยงปลา      2.เลี้ยงกุ้ง
          ๖.๓ การปศุสัตว์
                   การปศุสัตว์แบ่งเป็น
                   1. เลี้ยงโค(เนื้อ)
          ๖.๔ การบริการ
                   สถานบริการ
                   โรงแรม       แห่ง  คือ  บ้านสร้างรีสอร์ท  หมู่ ๓
          ๖.๕ การท่องเที่ยว
                   -
          ๖.๖ อุตสาหกรรม
                   บริษัท/โรงงานอุตสาหกรรม
                             - โรงผลิตไฟฟ้า (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) ๑ แห่ง หมู่ ๑
                             - โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ๒ แห่ง (มีคนงานตั้งแต่ ๒๐๐ คนขึ้นไป หรือมี ทรัพย์สินเกินกว่า ๕๐ ล้านบาทขึ้นไป) คือ โรงงานยูนิแลมป์ จำกัด หมู่ ๓ และหมู่   ๑๑
                             - โรงงานผลิตอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ ๔ แห่ง คือ บริษัทน้ำใสฟาร์ม จำกัด จำนวน ๒  แห่ง หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑ และนางสาวธัญรัตน์ มโหธร  จำนวน ๒ แห่ง หมู่ ๓ และ หมู่ ๙

          ๖.๗ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
                   การพาณิชย์
                             - สถานีบริการน้ำมัน    แห่ง
                             - ร้านค้าต่างๆ ๒๙ แห่ง

                   อาชีพ
                             ราษฎรในเขตตำบลบ้านสร้าง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือทำนา เลี้ยง กุ้ง เลี้ยงปลา ราชการ ค้าขาย และรับจ้าง ตามลำดับ

                   กลุ่มอาชีพ
                             ๑.กลุ่มหัตถกรรมทอเสื่อกกบ้านคลองสอง หมู่ที่ ๙
                             ๒.กลุ่มน้ำพริกเผาแม่ประนอม หมู่ที่ ๑
                             ๓.กลุ่มแม่บ้านสตรีสากล คลองท้ายบ้าน (พวงหรีด) หมู่ที่ ๓
                             ๔.กลุ่มสตรีบ้านเหนือคลอง (หมี่กรอบ) หมู่ที่ ๒
                             ๕.กลุ่มกระยาสารทบ้านสร้าง แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม
                                      - กระยาสารทสุวรรณา หมู่ที่ ๑
                                      - กระยาสารทบุญเตือน หมู่ที่ ๒
                                      - กระยาสารทแม่ทองแถม หมู่ที่ ๒
          ๖.๘ แรงงาน
                             - สัดส่วนกำลังแรงงานต่อประชากรอายุตั้งแต่ ๑๕ ปี ขี้นไปมีแนวโน้มลดลง แรงงาน ส่วนใหญ่ของตำบลอยู่ในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
                             - แรงงานส่วนใหญ่มีความรู้ระดับมัธยมศึกษา แรงงานระดับอาชีวะศึกษาอยู่ในสัดส่วนที่น้อย